บทความน ไม ม การอ างอ งจากแหล งท มาใดกร ณาช วยปร บปร งบทความน โดยเพ มการอ างอ งแหล งท มาท น าเช อถ อ เน อความท ไม ม แหล
คาบสมุทรมลายู

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู หรือ คาบสมุทรเซการามาซิน (มลายู: Semenanjung Tanah Melayu; อังกฤษ: Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้
ชื่อท้องถิ่น: Semenanjung Tanah Melayu (มลายู) سمننجوڠ تانه ملايو (มลายู) လေး ကျွန်းဆွယ် (พม่า) | |
---|---|
![]() ภาพถ่ายคาบสมุทรมลายูถ่ายโดยลูกเรือของภารกิจ บนสถานีอวกาศนานาชาติ | |
![]() ที่ตั้งของคาบสมุทรมลายู | |
ภูมิศาสตร์ | |
ที่ตั้ง | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
พิกัด | 7°00′N 100°00′E / 7.000°N 100.000°E |
แหล่งน้ำใกล้เคียง | มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก |
พื้นที่ | 242,363.8 ตารางกิโลเมตร (93,577.2 ตารางไมล์) |
ระดับสูงสุด | 2,187 ม. (7175 ฟุต) |
จุดสูงสุด | |
การปกครอง | |
มาเลเซียตะวันตก | |
เมืองใหญ่สุด | กัวลาลัมเปอร์ |
ภูมิภาค | ตะนาวศรี |
อำเภอ | เกาะสอง |
เมืองใหญ่สุด | เกาะสอง |
ประเทศไทย | |
ภาคใต้ | |
เมืองใหญ่สุด | หาดใหญ่ |
ที่ตั้งและอาณาเขต
ทางด้านการเมืองการปกครอง คาบสมุทรมลายูแบ่งออกเป็น:
- ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ คือ ส่วนใต้สุดของประเทศพม่า
- ตอนกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ภาคใต้ของประเทศไทย
- ตอนใต้ทั้งหมด คือ ส่วนของประเทศมาเลเซีย เรียกว่า มาเลเซียตะวันตก (ซึ่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของคาบสมุทรมลายู)
- เกาะที่อยู่ใต้สุด คือ ประเทศสิงคโปร์
ดูเพิ่ม
- คอคอดกระ
- อินโดจีน
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ คาบสมุทรมลายู
- . . 1914.
ผู้เขียน: www.NiNa.Az
วันที่เผยแพร่:
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk haaehlngkhxmul khabsmuthrmlayu khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khabsmuthrmlayu hrux aehlmmlayu hrux khabsmuthreskaramasin mlayu Semenanjung Tanah Melayu xngkvs Malay Peninsula epnkhabsmuthrkhnadihy tngxyuinexechiytawnxxkechiyngit wangtwekuxbxyuinaenwehnux it aelaepncudthixyuitsudkhxngthwipexechiy swnthiaekhbthisudkhxngkhabsmuthrmlayu khux khxkhxdkra chayfngdantawntkechiyngitaeykxxkcakekaasumatradwychxngaekhbmalaka miekaabxreniywxyuthangtawnxxkinthaelcinitkhabsmuthrmlayuchuxthxngthin Semenanjung Tanah Melayu mlayu سمننجوڠ تانه ملايو mlayu လ က န ဆ ယ phma phaphthaykhabsmuthrmlayuthayodylukeruxkhxngpharkic bnsthanixwkasnanachatithitngkhxngkhabsmuthrmlayuphumisastrthitngexechiytawnxxkechiyngitphikd7 00 N 100 00 E 7 000 N 100 000 E 7 000 100 000aehlngnaiklekhiyngmhasmuthrxinediy mhasmuthraepsifikphunthi242 363 8 tarangkiolemtr 93 577 2 tarangiml radbsungsud2 187 m 7175 fut cudsungsudkarpkkhrxngpraethsmaelesiymaelesiytawntkemuxngihysudkwlalmepxrpraethsphmaphumiphakhtanawsrixaephxekaasxngemuxngihysudekaasxngpraethsithyphakhitemuxngihysudhadihythitngaelaxanaekhtthangdankaremuxngkarpkkhrxng khabsmuthrmlayuaebngxxkepn thangdantawntkechiyngehnux khux swnitsudkhxngpraethsphma txnklangaelatawnxxkechiyngehnux khux phakhitkhxngpraethsithy txnitthnghmd khux swnkhxngpraethsmaelesiy eriykwa maelesiytawntk sungepnephiyngswnhnungkhxngkhabsmuthrmlayu ekaathixyuitsud khux praethssingkhoprduephimkhxkhxdkra xinodcinxangxingaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb khabsmuthrmlayu Malakka The New Student s Reference Work 1914 bthkhwamekiywkbphumisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk