Беларусь  БеларусьDeutschland  DeutschlandUnited States  United StatesFrance  FranceҚазақстан  ҚазақстанLietuva  LietuvaРоссия  Россияประเทศไทย  ประเทศไทยУкраина  Украина
สนับสนุน
www.aawiki.th-th.nina.az
  • บ้าน

ภาษาเบงกอล หร อตามช อเร ยกตนเองว า บ งลา ব ল Bāṅlā ˈbaŋla เป นภาษาอ นโด อารย นคลาสส กจากตระก ลภาษาอ นโด ย โรเป ยนท พบในภ

ภาษาเบงกอล

  • หน้าแรก
  • ภาษาเบงกอล
ภาษาเบงกอล
www.aawiki.th-th.nina.azhttps://www.aawiki.th-th.nina.az

ภาษาเบงกอล หรือตามว่า บังลา (বাংলা, Bāṅlā, [ˈbaŋla] ) เป็นภาษาอินโด-อารยันจากตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนที่พบในในเอเชียใต้ โดยมีผู้พูดภาษาแม่มากกว่า 242 ล้านคนและพูดเป็นภาษาที่สอง 41 ล้านคน ณ ค.ศ. 2025 ภาษาเบงกอลเป็น และ ตามจำนวนผู้พูดทั่วโลก โดยถือเป็นภาษาอินโด-ยูโรเปียนที่มีผู้พูดมากเป็นอันดับ 5

ภาษาเบงกอล
বাংলা · บังลา
image
คำว่า "บังลา" ใน (ชุดตัวอักษรเบงกอล)
ออกเสียง[ˈbaŋla]
ประเทศที่มีการพูดและอินเดีย
ภูมิภาค
  • รัฐอัสสัม (และ)
  • รัฐตรีปุระ
  • รัฐฌารขัณฑ์
  • หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์
ชาติพันธุ์ชาวเบงกอล
จำนวนผู้พูดภาษาแม่: 242 ล้านคน  (2011–2021)
ภาษาที่สอง: 41 ล้านคน (2011–2021)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
  • อินโด-อิเรเนียน
    • อินโด-อารยัน
          • ภาษาเบงกอล
รูปแบบก่อนหน้า
        • ภาษาเบงกอลสมัยกลาง
          • ภาษาเบงกอล
ภาษาถิ่น
ดู
ระบบการเขียน
  • (ชุดตัวอักษรเบงกอล)
  • อักษรอื่น ๆ และอดีต
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ
    • รัฐเบงกอลตะวันตก
    • รัฐตรีปุระ
    • รัฐอัสสัม ()
    • รัฐฌารขัณฑ์ (ทางการเพิ่มเติม)
  • (บังกลาเทศ)
  • (รัฐเบงกอลตะวันตก)
รหัสภาษา
ISO 639-1bn
ISO 639-2ben
ISO 639-3ben
image
ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ของภาษาเบงกอล บริเวณที่เข้มกว่าคือมีจำนวนผู้พูดภาษาแม่เป็นจำนวนร้อยละมากกว่า
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาเบงกอลเป็นภาษาราชการ และภาษาที่มีผู้พูดแพร่หลายที่สุดในประเทศบังกลาเทศ โดยชาวบังกลาเทศร้อยละ 98 ใช้ภาษาเบงกอลเป็นภาษาแม่ ภาษานี้เป็นภาษาที่มีผู้พูดแพร่หลายเป็นอันดับ 2 ถือเป็นภาษาราชการในรัฐเบงกอลตะวันตก รัฐตรีปุระ และภูมิภาคในรัฐอัสสัม โดยยังเป็นภาษาราชการที่สองในรัฐฌาร์ขัณฑ์ตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 2011 ภาษานี้เป็นภาษาที่พูดกันแพร่หลายสุดในหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ที่อ่าวเบงกอล และในบริเวณที่ประชากรเป็นนัยยะสำคัญในรัฐต่าง ๆ เช่น รัฐพิหาร, รัฐอรุณาจัลประเทศ, เดลี, รัฐฉัตตีสครห์, รัฐเมฆาลัย, รัฐมิโซรัม, รัฐนาคาแลนด์, รัฐโอฑิศา และรัฐอุตตราขัณฑ์ ภาษาเบงกอลยังมีผู้พูดโดยชาวเบงกอลพลัดถิ่น (และชาวอินเดียเชื้อสายเบงกอล) ทั่วยุโรป อเมริกาเหนือ ตะวันออกกลาง และภูมิภาคอื่น ๆ

ภาษาเบงกอลได้รับสถานะจากรัฐบาลอินเดียในวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 2024 โดยเป็นภาษาที่มีผู้พูดมากเป็นอันดับ 2 และเติบโตเร็วเป็นอันดับ 4 ใน เป็นรองจากภาษาฮินดีอันดับ 1 ภาษากัศมีร์อันดับ 2 และภาษามณีปุระ (มณีปุระ) ร่วมกับคุชราตเป็นอันดับ 3 ตาม

ภาษาเบงกอลได้รับการพัฒนามากว่า 1,400 ปี ที่มีประวัติศาสตร์วรรณกรรมอันยาวนานนับพันปี ได้รับการพัฒนาอย่างกว้างขวางใน และเป็นหนึ่งในวรรณกรรมที่มีผลงานหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ที่สุดในเอเชีย ใน ค.ศ. 1948 ถึง 1956 เรียกร้องให้มีการให้ภาษาเบงกอลเป็นภาษาราชการของปากีสถาน ส่งผลให้เกิดแนวคิดใน นำไปสู่การสถาปนาประเทศบังกลาเทศใน ค.ศ. 1971 โดยใน ค.ศ. 1999 ยูเนสโกระบรองให้วันที่ เป็นที่มีการรับรองขบวนการภาษา

ประวัติ

image
หน้าจากชรรยปท

ภาษาเบงกอลเป็นภาษาในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันออก พัฒนามาจากภาษาในยุคกลางคือภาษาปรากฤตมคธและภาษาไมถิลี ซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมที่เคยมีบันทึกในบริเวณนี้และเป็นภาษาในสมัยพุทธกาลด้วย ภาษาเหล่านี้ต่อมาพัฒนาไปเป็นภาษาอรธามคธี และพัฒนาต่อไปเป็นกลุ่มภาษาอปภรัมสะ ภาษากลุ่มนี้ที่ใช้พูดทางตะวันออกคือภาษาปุรวี อปภรัมสะ ได้พัฒนาต่อไปเป็นสำเนียงท้องถิ่นสามกลุ่มคือ ภาษาโอริยา และภาษาเบงกอล-อัสสัม ในส่วนของภาษาเบงกอลนั้น แบ่งเป็นสามช่วงคือ

  • ภาษาเบงกอลโบราณ (พ.ศ. 1443/1543 – 1943) เอกสารที่สำคัญได้แก่ จรรยปทะ เกิดการใช้สรรพนาม Ami, tumi การผันกริยาด้วย -ila, -iba ภาษาโอริยาและภาษาอัสสัมแยกออกไปในช่วงนี้
  • ภาษาเบงกอลยุคกลาง (พ.ศ. 1943 – 2343) เป็นช่วงที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซีย
  • ภาษาเบงกอลใหม่ (หลัง พ.ศ. 2343) ทำให้การผันคำนาม คำกริยาสั้นลง

ภาษาเบงกอลได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตมากขึ้นในยุคกลาง ภาษาอินโด-อารยันสมัยใหม่ในเอเชียใต้ เช่น ภาษาปัญจาบ ภาษาสินธี และภาษาคุชราตได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก ซึ่งต่างจากภาษาเบงกอลและภาษาไมถิลี ที่ยังรักษารากศัพท์ที่มาจากภาษาสันสกฤตไว้ได้ ไวยากรณ์และพจนานุกรมภาษาเบงกอลฉบับแรกจัดทำขึ้นโดยมิชชันนารีชาวโปรตุเกสระหว่าง พ.ศ. 2277 - 2285

สมัยใหม่

ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีรูปแบบภาษาเขียน 2 แบบ:

  • চলিতভাষা ชลติภาษา รูปแบบภาษาพูดของภาษาเบงกอลที่ใช้การผันคำแบบง่าย
  • সাধুভাষা รูปแบบภาษาเบงกอลที่เป็นทางการและสุภาพ

ใน ค.ศ. 1948 รัฐบาลปากีสถานพยายามพยายามกำหนดให้ภาษาอูรดูเป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียวในปากีสถาน ทำให้เกิดกระแส นี่เป็นการเคลื่อนไหวทางชาติพันธุ์ภาษาที่ได้รับความนิยมในอดีต (ปัจจุบันคือบังกลาเทศ) ซึ่งเกิดขึ้นจากความตระหนักทางภาษาที่เข้มแข็งของชาวเบงกอล และความปรารถนาที่จะส่งเสริมและปกป้องการรับรองการพูดและการเขียนภาษาเบงกอลในฐานะภาษาประจำรัฐของประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 นักศึกษา 5 คนและนักเคลื่อนไหวทางการเมืองถูกสังหารในระหว่างการประท้วงใกล้บริเวณมหาวิทยาลัยของ ใน ค.ศ. 1956 ภาษาเบงกอลกลายเป็นภาษาประจำรัฐของปากีสถานยูเนสโกประกาศให้วันที่ 21 กุมภาพันธ์เป็นในบังกลาเทศและวันระลึกเป็นทุกปีตั้งแต่ ค.ศ. 2000

ใน ค.ศ. 2010 รัฐสภาบังกลาเทศและสภานิติบัญญัติของรัฐเบงกอลตะวันตกเสนอให้ภาษาเบงกอลเป็นภาษาทางการของสหประชาชาติ ณ เดือนมกราคม ค.ศ. 2023 ยังไม่มีการดำเนินการใด ๆ เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ กระนั้นใน ค.ศ. 2022 สหประชาชาติได้นำภาษาเบงกอลมาใช้เป็นภาษาอย่างไม่เป็นทางการ หลังจากที่อินเดียเสนอญัตติ

ใน ค.ศ. 2024 รัฐบาลอินเดียให้สถานะภาษาเบงกอลเป็น

image
ที่ธากา ประเทศบังกลาเทศ
image
อนุสรณ์สถานวีรชนแห่งภาษาที่สถานีรถไฟ Silchar ในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย
image
อนุสรณ์วันภาษาแม่ที่โกลกาตา รัฐเบงกอลตะวันตก

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

จำนวนผู้พูดภาษาเบงกอลเป็นภาษาแม่โดยประมาณทั่วโลก (โดยคิดเป็นยอดรวม 280 ล้านคน)

  บังกลาเทศ (56.3%)
  อินเดีย (42%)
  ประเทศอื่น (1.7%)

ภาษาเบงกอลเป็นภาษาแม่ในภูมิภาคที่ประกอบด้วยประเทศบังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดียในปัจจุบัน

image
การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของภาษาเบงกอลทั่วโลก
  ภาษาแม่
  ภาษาระดับภูมิภาค
  ประชากรโพ้นทะเลมากกว่าล้านคน
  ประชากรโพ้นทะเลมากกว่า 100,000 คน
  ประชากรโพ้นทะเลมากกว่า 10,000 คน
  ประชากรโพ้นทะเลมากกว่าหนึ่งพันคน

นอกจากภูมิภาคนี้ ยังมีชาวเบงกอลที่พูดภาษานี้ในรัฐตรีปุระ, รัฐอัสสัมตอนใต้ และประชากรเบงกอลที่พูดในดินแดนสหภาพหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาเบงกอลในรัฐใกล้เคียงอย่างรัฐโอฑิศา, รัฐพิหาร และรัฐฌาร์ขัณฑ์ และผู้พูดภาษาเบงกอลชนกลุ่มน้อยในนครของอินเดีย เช่น เดลี, มุมไบ, ฐาเณ, พาราณสี และวฤนทาวัน และยังมีชุมชนที่พูดภาษาเบงกอลอย่างเป็นนัยยะสำคัญในตะวันออกกลาง สหรัฐ,สิงคโปร์, มาเลเซีย, ออสเตรเลีย, แคนาดา, สหราชอาณาจักร และอิตาลี

สถานการณ์เป็นภาษาราชการ

ภาษาเบงกอลเป็นภาษาราชการของประเทศบังกลาเทศ และเป็นภาษาราชการในรัฐเบงกอลตะวันตกและรัฐตรีปุระในอินเดีย และเป็นภาษาหลักในหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ เป็นภาษาราชการร่วมของรัฐอัสสัม

สำเนียง

มีความผันแปรในแต่ละท้องถิ่นที่พูดภาษาเบงกอล โดยแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ได้สี่กลุ่มคือ ราธ พังคะ กามรูป และวเรนทระ สำเนียงทางตะวันตกเฉียงใต้หรือราธเป็นพื้นฐานของภาษาเบงกอลมาตรฐาน ส่วนสำเนียงทางตะวันออกจะได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาทิเบต-พม่ามาก ทำให้บางสำเนียงมีความแตกต่างของเสียงวรรณยุกต์ในสำเนียงในบริเวณจิตตะกองและจักมา บางสำเนียงถูกจัดเป็นภาษาเอกเทศต่างหากเช่นภาษาฮาชอง แม้จะคล้ายกับภาษาเบงกอลสำเนียงทางเหนือ

ระหว่างการจัดมาตรฐานภาษาเบงกอลในพุทธศตวรรษ 24-25 ศูนย์กลางของวัฒนธรรมเบงกอลอยู่ที่กัลกัตตา ทำให้สำเนียงทางตะวันตกตอนกลางกลายเป็นสำเนียงมาตรฐานทั้งในเบงกอลตะวันตกและบังกลาเทศ แต่ภาษาเบงกอลในสองบริเวณนี้ก็มีการใช้คำศัพท์ที่แตกต่างกัน แม้จะเป็นคำศัพท์ในภาษาเบงกอลเดิมเหมือนกัน เช่น คำว่าเกลือ ทางตะวันตกใช้ noon ส่วนทางตะวันออกใช้ lôbon

เสียง

ในทางสัทศาสตร์ ภาษาเบงกอลมีพยัญชนะ 29 เสียง และสระ 14 เสียงรวมทั้งสระนาสิก 7 เสียง มีเสียงสระประสมมาก การเน้นเสียงมักเน้นที่พยางค์แรกของคำ ความสั้นยาวของเสียงสระไม่มีความสำคัญในภาษาเบงกอล

ระบบการเขียน

image
ตัวอย่างอักษรเบงกอลแบบรูปเขียน บทกวีส่วนหนึ่งในภาษาเบงกอล (และคำแปลภาษาอังกฤษในแต่ละย่อหน้าภาษาเบงกอล) โดยรพินทรนาถ ฐากุร ผู้ได้รับรางวัลโนเบล เมื่อ ค.ศ. 1926 ที่ฮังการี
image
หอสมุดที่ที่มีคำว่า "বাংলা" เรืองแสงในแบบอักษรของตนเอง

เป็นอักษรสระประกอบ ซึ่งเป็นชุดตัวอักษรที่มีตัวอักษรสำหรับสระ กับเครื่องหมายเสริมสัทอักษรสำหรับเสียงสระ และถ้าไม่มีการเครื่องหมายสระก็ถือว่ามี (অ ô)ชุดตัวอักษรเบงกอลใช้งานทั่วบังกลาเทศและอินเดียตะวันออก (อัสสัม, เบงกอลตะวันตก, ตรีปุระ) เชื่อกันว่าชุดตัวอักษรเบงกอลพัฒนามาจากอักษรพราหมีดัดแปลงเมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 (หรือคริสต์ศตวรรษที่ 10–11) อักษรเบงกอลเป็นอักษรตัวเขียนที่มีหน่วยอักขระหรือสัญลักษณ์ 11 หน่วยที่ระบุเสียงสระ 9 เสียง และ 2 หน่วย กับหน่วยอักขระที่แทนเสียงพยัญชนะ 39 หน่วยและส่วนขยายอื่น ๆ อักษรนี้ไม่มีการแบ่งเป็น เขียนจากซ้ายไปขวา และมีช่องว่างไว้แบ่ง อักษรเบงกอลมีเส้นแนวนอนที่ลากไปตามส่วนบนของหน่วยอักขระซึ่งเชื่อมเข้าด้วยกันเรียกว่า মাত্রা มาตรา

การถอดอักษรเบงกอลเป็นอักษร ใช้ตามระบบของภาษาสันสกฤตหรือภาษาในประเทศอินเดียรวมทั้ง

อักษรแบบอื่นและในอดีต

image
เอกสารตัวเขียน Halat-un-Nabi ใน ค.ศ. 1855 เขียนโดย โดยใช้อักษรสิเลฏินาครี

ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ มีบางกรณีที่ภาษาเบงกอลใช้เขียนด้วยอักษรที่แตกต่างกัน แม้ว่าการใช้ภาษาเหล่านี้จะไม่เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางและจำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มก็ตาม เนื่องจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเบงกอล พื้นที่เบงกอลที่ติดกับภูมิภาคที่ไม่ใช่เบงกอลจึงได้รับอิทธิพลซึ่งกันและกัน ประชากรจำนวนน้อยใน ที่อยู่ติดกับรัฐโอฑิศาใช้อักษรโอริยาในการเขียนภาษาเบงกอล ส่วนในพื้นที่ชายแดนระหว่างรัฐเบงกอลตะวันตกกับรัฐพิหาร ชุมชนชาวเบงกอลบางแห่งในอดีตเขียนภาษาเบงกอลด้วยอักษรเทวนาครี ไกถี และ

ในสิเลฏและ อักษรไกถีแบบดัดแปลงมีความโดดเด่นทางประวัติศาสตร์บ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชนมุสลิม อักษรที่ดัดแปลงในสิเลฏนั้นเหมือนกันกับอักษร Baitali Kaithi ของภาษาฮินดูสตานี เว้นแต่อักษรสิเลฏินาครีมีมาตรา อักษรสิเลฏินาครีได้รับการกำหนดมาตรฐานสำหรับการพิมพ์เมื่อ ป. ค.ศ. 1869

มีการใช้อักษรอาหรับหลายรูปแบบทั่วเบงกอลจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตั้งแต่จิตตะกองทางตะวันออกไปจนถึง ทางตะวันตก นักวิชาการราชสำนักของเบงกอลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่งบทกวีภาษาเบงกอลโดยใช้ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย หลังการแบ่งอินเดียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 รัฐบาลปากีสถานพยายามสถาปนาอักษรเปอร์เซีย-อาหรับเป็นอักษรมาตรฐานสำหรับภาษาเบงกอลในปากีสถานตะวันออก แต่ได้รับการต่อต้านและมีส่วนสนับสนุนให้เกิดขบวนการภาษาเบงกอล

ไวยากรณ์

คำนามในภาษาเบงกอลไม่มีการกำหนดเพศ ทำให้มีการผันคำน้อย คำคุณศัพท์ คำนาม และสรรพนามมี 4 การก คำกริยามีรูปแบบการผันมาก แต่ต่างจากภาษาฮินดีที่ไม่มีการผันคำกริยาตามเพศ

การเรียงลำดับคำ

ภาษาเบงกอลเรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา เชื่อมคำในประโยคด้วยปรบท คำคุณศัพท์ จำนวนและการกแสดงความเป็นเจ้าของนำหน้าคำนาม คำถามแบบใช่/ไม่ใช่ ไม่ต้องมีการเปลี่ยนลำดับคำในประโยค

คำนาม

คำนามและคำสรรพนามมีการผันตามการกจำนวน 4 การกคือ ประธาน กรรม ความเป็นเจ้าของและแสดงตำแหน่ง มีการเติมคำนำหน้านามชี้เฉพาะได้แก่ -টা -ţa (เอกพจน์) หรือ -গুলা -gula (พหูพจน์) นามมีการผันตามจำนวนด้วย ภาษาเบงกอลมีลักษณนามเช่นเดียวกับภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีนและภาษาไทย ลักษณนามที่ใช้โดยทั่วไปคือ -টা –ţa แต่มีลักษณนามบางคำใช้กับนามเฉพาะ เช่น -জন –jon ใช้กับคน

คำกริยา

คำกริยาแบ่งได้เป็นสองระดับคือคือกริยาแท้และกริยาไม่แท้ กริยาไม่แท้ไม่มีการผันตามกาลของบุคคล ในขณะที่กริยาแท้มีการผันตามจุดมุ่งหมาย กาล และบุคคลแต่ไม่ผันตามจำนวน นอกจากนั้น ภาษาเบงกอลมีความต่างจากภาษาในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันอื่น ๆ คือสามารถละกริยาที่เป็น verb to be แบบที่พบในภาษารัสเซียและภาษาฮังการี

คำศัพท์

ในภาษาเบงกอลมีคำศัพท์มากกว่า 100,000 คำ โดยครึ่งหนึ่งเป็นคำยืมจากภาษาสันสกฤต ราว 20% มีรากศัพท์ร่วมกับภาษาสันสกฤต ที่เหลือเป็นคำยืมจากภาษาอื่นโดยเฉพาะภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก อย่างไรก็ตาม ในภาษาเบงกอลสมัยใหม่ นิยมใช้ศัพท์ที่มีรากศัพท์ร่วมกับภาษาสันสกฤต มากกว่าคำที่ยืมจากภาษาสันสกฤต ส่วนคำยืมมีที่ใช้น้อยลง

ในบริเวณเป็นบริเวณที่มีการติดต่อกับชาวต่างชาติมากมาย ทั้งชาวยุโรป อินเดียสมัย ชาวอาหรับ ชาวเติร์ก ชาวเปอร์เซีย ชาวอัฟกัน และชาวเอเชียตะวันออก ภาษาเบงกอลจึงมีคำยืมจากภาษาของกลุ่มชนเหล่านี้ ซึ่งต่างกันไปตามระดับของความใกล้ชิดในการติดต่อ มีการยืมคำจากภาษาของเพื่อนบ้าน เช่น ภาษาฮินดี ภาษาอัสสัม และภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติกโดยเฉพาะภาษาสันตาลี การรุกรานของเปอร์เซียและตะวันออกกลางทำให้มีคำยืมจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาตุรกี และภาษาปาทาน ในสมัยอาณานิคม ภาษาเบงกอลได้รับอิทธิพลจากภาษาในยุโรป เช่น ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาดัตช์ และภาษาอังกฤษ

รูปแบบของภาษาพูดและภาษาเขียน

ภาษาเบงกอลเป็นภาษาที่มีความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาเขียนมีสองแบบคือ

  • สาธุภาษา ((সাধুভাষা) เป็นรูปแบบการเขียนที่มีการผันคำกริยาแบบยาว และใช้ศัพท์ที่มาจากภาษาสันสกฤต เพลงชาติเป็นตัวอย่างการใช้สาธุภาษา แต่รูปแบบการเขียนสมัยใหม่ ไม่นิยมใช้สาธุภาษา
  • ชลติภาษา (চলতিভাষা) เป็นรูปแบบการเขียนภาษาเบงกอลสมัยใหม่ ที่ใช้กริยาในรูปสั้น และเป็นภาษามาตรฐานในปัจจุบัน เริ่มใช้เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 สำเนียงที่ใช้เป็นพื้นฐานคือสำเนียงในศานติปุระ รัฐเบงกอลตะวันตก

ภาษาพูดของภาษาเบงกอลมีความหลากหลายเช่นเดียวกัน ทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐเบงกอลตะวันตกรวมทั้งในกัลกัตตาพูดสำเนียงมาตรฐานของภาษาเบงกอล ส่วนอื่น ๆ ของเบงกอลตะวันตกและทางตะวันตกของบังกลาเทศพูดสำเนียงที่มีความแตกต่างไปเล็กน้อย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ในบังกลาเทศพูดสำเนียงที่ต่างไปจากภาษามาตรฐานโดยเฉพาะบริเวณจิตตะกอง นอกจากนั้น ชาวเบงกอลที่นับถือศาสนาฮินดูและศาสนาอิสลามใช้ภาษาที่ต่างกัน ผู้นับถือศาสนาฮินดูนิยมใช้ศัพท์ที่มาจากภาษาสันสกฤต ส่วนมุสลิมนิยมใช้ศัพท์ที่มาจากภาษาอาหรับและเปอร์เซียแม้จะมีความหมายเหมือนกัน เช่น

  • สวัสดี: nômoshkar (สันสกฤต) กับ assalamualaikum/slamalikum (อาหรับ)
  • เชื้อเชิญ: nimontron/nimontonno (สันสกฤต) กับ daoat (อาหรับ)
  • น้ำ : jol (สันสกฤต) กับ pani (สันสกฤต)
  • พ่อ : baba (เปอร์เซีย) corresponds to abbu/abba (อาหรับ)

ตัวอย่าง

ข้อความข้างล่างนำมาจากปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนข้อที่ 1 ในภาษาเบงกอล:

সমস্ত

Sômôstô

ʃɔmosto

All

মানুষ

manush

manuʃ

human

স্বাধীনভাবে

shadhinbhabe

ʃadʱinbʱabe

free-manner-in

সমান

sôman

ʃoman

equal

মর্যাদা

môrjada

mɔɾdʒada

dignity

এবং

ebông

eboŋ

and

অধিকার

ôdhikar

odʱikaɾ

right

নিয়ে

niye

nie̯e

taken

জন্মগ্রহণ

jônmôgrôhôn

dʒɔnmoɡrohon

birth-take

করে।

kôre.

kɔɾe

do.

তাঁদের

Tãder

tãdeɾ

Their

বিবেক

bibek

bibek

reason

এবং

ebông

eboŋ

and

বুদ্ধি

buddhi

budʱːi

intelligence

আছে;

achhe;

atʃʰe

exist;

সুতরাং

sutôrang

ʃutoraŋ

therefore

সকলেরই

sôkôleri

ʃɔkoleɾi

everyone-indeed

একে

êke

ɛke

one

অপরের

ôpôrer

ɔporeɾ

another's

প্রতি

prôti

proti

towards

ভ্রাতৃত্বসুলভ

bhratrittôsulôbh

bʱratritːoʃulɔbʱ

brotherhood-ly

মনোভাব

mônobhab

monobʱab

attitude

নিয়ে

niye

nie̯e

taken

আচরণ

achôrôn

atʃorɔn

conduct

করা

kôra

kɔra

do

উচিত।

uchit.

utʃit

should.

সমস্ত মানুষ স্বাধীনভাবে সমান মর্যাদা এবং অধিকার নিয়ে জন্মগ্রহণ করে। তাঁদের বিবেক এবং বুদ্ধি আছে; সুতরাং সকলেরই একে অপরের প্রতি ভ্রাতৃত্বসুলভ মনোভাব নিয়ে আচরণ করা উচিত।

Sômôstô manush shadhinbhabe sôman môrjada ebông ôdhikar niye jônmôgrôhôn kôre. Tãder bibek ebông buddhi achhe; sutôrang sôkôleri êke ôpôrer prôti bhratrittôsulôbh mônobhab niye achôrôn kôra uchit.

ʃɔmosto manuʃ ʃadʱinbʱabe ʃoman mɔɾdʒada eboŋ odʱikaɾ nie̯e dʒɔnmoɡrohon kɔɾe tãdeɾ bibek eboŋ budʱːi atʃʰe ʃutoraŋ ʃɔkoleɾi ɛke ɔporeɾ proti bʱratritːoʃulɔbʱ monobʱab nie̯e atʃorɔn kɔra utʃit

All human free-manner-in equal dignity and right taken birth-take do. Their reason and intelligence exist; therefore everyone-indeed one another's towards brotherhood-ly attitude taken conduct do should.

มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ

อ้างอิง

  1. Bengali ที่ Ethnologue (28th ed., 2025) image
  2. "Scheduled Languages in descending order of speaker's strength - 2011" (PDF). . เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 November 2018. สืบค้นเมื่อ 28 June 2018.
  3. Bengali at Ethnologue (27th ed., 2024) image
  4. "Jharkhand gives second language status to Magahi, Angika, Bhojpuri, and Maithili". . 21 March 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2019. สืบค้นเมื่อ 30 April 2019.
  5. "The World Factbook" (ภาษาอังกฤษ). Central Intelligence Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 January 2021. สืบค้นเมื่อ 21 February 2018.
  6. "Summary by language size". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 April 2019. สืบค้นเมื่อ 21 February 2019.
  7. Banerjee, Mou (21 February 2023). "The missionaries and the evolution of the Bengali language". The Daily Star. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
  8. "Bangla Bhasha Procholon Ain, 1987" বাংলা ভাষা প্রচলন আইন, ১৯৮৭ [] (PDF). Bangladesh Code বাংলাদেশ কোড (ภาษาเบงกอล). Vol. 27 (Online ed.). Dhaka: . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 July 2016. สืบค้นเมื่อ 23 May 2019.
  9. "Bangla Language". . เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2015. สืบค้นเมื่อ 12 September 2018.
  10. "The Constitution of the People's Republic of Bangladesh". Ministry of Law, Justice and Parliamentary Affairs. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 November 2019. สืบค้นเมื่อ 23 May 2019.
  11. "National Languages Of Bangladesh". einfon.com. 11 June 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 August 2017. สืบค้นเมื่อ 12 September 2018.
  12. "5 Surprising Reasons the Bengali Language Is Important". 17 August 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 June 2018. สืบค้นเมื่อ 10 March 2018.
  13. "50th Report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India (July 2012 to June 2013)" (PDF). National Commission for Linguistic Minorities. 16 July 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 January 2018. สืบค้นเมื่อ 20 February 2018.
  14. "50th Report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India" (PDF). nclm.nic.in. . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 July 2016. สืบค้นเมื่อ 23 May 2019.
  15. "Bengali Language". www.britannica.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 June 2018. สืบค้นเมื่อ 12 September 2018.
  16. Kumar, Vivek; Roy, Suryagni (3 October 2024). "Marathi, Pali, Prakrit, Assamese, Bengali now among classical languages". India Today. สืบค้นเมื่อ 3 October 2024.
  17. "Classical language status: Union Cabinet approves addition of Marathi, Assamese, Bengali, Pali, Prakrit to list". The Hindu. PTI. 3 October 2024. ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 3 October 2024.
  18. —R, Aishwaryaa (6 June 2019). "What census data reveals about use of Indian languages". . เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2023. สืบค้นเมื่อ 16 November 2023.
    —Pallapothu, Sravan (28 June 2018). "Hindi Added 100Mn Speakers In A Decade; Kashmiri 2nd Fast Growing Language". Indiaspend.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2023. สืบค้นเมื่อ 16 November 2023.
    —IndiaSpend (2 July 2018). "Hindi fastest growing language in India, finds 100 million new speakers". Business Standard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2023. สืบค้นเมื่อ 16 November 2023.
    —Mishra, Mayank; Aggarwal, Piyush (11 April 2022). "Hindi grew rapidly in non-Hindi states even without official mandate". India Today. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2023. สืบค้นเมื่อ 16 November 2023.
  19. "Amendment to the Draft Programme and Budget for 2000–2001 (30 C/5)" (PDF). General Conference, 30th Session, Draft Resolution. UNESCO. 1999. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 May 2011. สืบค้นเมื่อ 27 May 2008.
  20. "Resolution adopted by the 30th Session of UNESCO's General Conference (1999)". International Mother Language Day. UNESCO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2008. สืบค้นเมื่อ 27 May 2008.
  21. Ray, S Kumar. "The Bengali Language and Translation". Translation Articles. Kwintessential. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2006. สืบค้นเมื่อ 19 November 2006.
  22. "Bengali language | History, Writing System & Dialects | Britannica". www.britannica.com (ภาษาอังกฤษ). 3 March 2024. สืบค้นเมื่อ 7 March 2024.
  23. Thompson, Hanne-Ruth (2012). Bengali (Paperback with corrections. ed.). Amsterdam: John Benjamins Pub. Co. p. 3. ISBN 978-90-272-3819-1.
  24. "Bengali 'should be UN language'". BBC News. 22 December 2009. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2017. สืบค้นเมื่อ 7 November 2017.
  25. "UN adopts Bangla as unofficial language". Dhaka Tribune (ภาษาอังกฤษ). 12 June 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2023. สืบค้นเมื่อ 20 January 2023.
  26. "Kuwait restricts recruitment of male Bangladeshi workers". Dhaka Tribune (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 7 September 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 August 2017. สืบค้นเมื่อ 4 December 2017.
  27. "Bahrain: Foreign population by country of citizenship, sex and migration status (worker/ family dependent) (selected countries, January 2015) – GLMM". GLMM (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 20 October 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 December 2017. สืบค้นเมื่อ 4 December 2017.
  28. "Saudi Arabia". Ethnologue. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 November 2017. สืบค้นเมื่อ 4 December 2017.
  29. "New York State Voter Registration Form" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2018. สืบค้นเมื่อ 10 February 2018.
  30. "Bangla Language and Literary Society, Singapore". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 May 2013.
  31. Bhattacharjee, Kishalay (30 April 2008). "It's Indian language vs Indian language". . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-23. สืบค้นเมื่อ 2008-05-27.
  32. "Hajong". The Ethnologue Report. สืบค้นเมื่อ 2006-11-19.
  33. "History of Bengali (Banglar itihash)". Bengal Telecommunication and Electric Company. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-07. สืบค้นเมื่อ 2006-11-20.
  34. Escudero Pascual Alberto (23 ตุลาคม 2005). "Writing Systems/ Scripts" (PDF). Primer to Localization of Software. it46.se. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 19 มีนาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2006.
  35. "Bangalah". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2015. in Asiatic Society of Bangladesh 2003 harvnb error: no target: CITEREFAsiatic_Society_of_Bangladesh2003 ()
  36. "banglasemantics.net". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2010.
  37. Chatterji (1926), p. 234-235. harv error: no target: CITEREFChatterji1926 ()
  38. Saha, RN (1935). "The Origin of the Alphabet and Numbers". ใน Khattry, DP (บ.ก.). Report of All Asia Educational Conference (Benares, December 26-30, 1930). , India: The Indian Press Ltd. pp. 751–779.
  39. Chatterji (1926), pp. 228–233. harv error: no target: CITEREFChatterji1926 ()
  40. Khan Sahib, Maulavi Abdul Wali (2 November 1925). A Bengali Book written in Persian Script.
  41. Ahmad, Qeyamuddin (20 March 2020). The Wahhabi Movement in India. .
  42. "The development of Bengali literature during Muslim rule" (PDF). Blogs.edgehill.ac.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 August 2017. สืบค้นเมื่อ 7 November 2016.
  43. (February 1963). "হযরত নূরুদ্দীন নূরুল হক নূর কুতবুল আলম (রহঃ)". Islam Prasanga ed. 1st ইসলাম প্রসঙ্গ (ภาษาเบงกอล) (1 ed.). : Mawla Brothers. p. 99.
  44. Kurzon, Dennis (2010). "Romanisation of Bengali and Other Indian Scripts". Journal of the Royal Asiatic Society. 20 (1): 71–73. ISSN 1356-1863. JSTOR 27756124. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2021. สืบค้นเมื่อ 23 August 2021.

อ่านเพิ่ม

  • Thompson, Hanne-Ruth (2012). Bengali. Volume 18 of London Oriental and African Language Library. John Benjamins Publishing. ISBN 90-272-7313-8.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • The South Asian Literary Recordings Project: Bengali Authors at the Library of Congress
ภาษาเบงกอล ที่โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย:
  • imageหาความหมาย จาก วิกิพจนานุกรม
  • imageภาพและสื่อ จาก คอมมอนส์
  • imageคำคม จาก วิกิคำคม
  • imageข้อมูลต้นฉบับ จาก วิกิซอร์ซ
  • imageแหล่งเรียนรู้ จาก วิกิวิทยาลัย
  • imageคู่มือท่องเที่ยว จาก วิกิท่องเที่ยว
  • imageภาษาบังกลา ฉบับ วิกิพีเดีย

ผู้เขียน: www.NiNa.Az

วันที่เผยแพร่: 25 พฤษภาคม, 2025 / 16:49

wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์

phasaebngkxl hruxtamchuxeriyktnexngwa bngla ব ল Baṅla ˈbaŋla epnphasaxinod xarynkhlassikcaktrakulphasaxinod yuorepiynthiphbinphumiphakhebngkxlinexechiyit odymiphuphudphasaaemmakkwa 242 lankhnaelaphudepnphasathisxng 41 lankhn n kh s 2025 1 phasaebngkxlepnphasaaemthimiphuphudmakepnxndb 5 aelaphasathimiphuphudmakepnxndb 7 tamcanwnphuphudthwolk 5 6 odythuxepnphasaxinod yuorepiynthimiphuphudmakepnxndb 5 7 phasaebngkxlব ল bnglakhawa bngla inxksrebngkxl xssm chudtwxksrebngkxl xxkesiyng ˈbaŋla praethsthimikarphudbngklaethsaelaxinediyphumiphakhebngkxl 1 rthxssm hubekhabarakaelaekhttxnlang rthtripura rthcharkhnth hmuekaaxndamnaelaniokhbarchatiphnthuchawebngkxlcanwnphuphudphasaaem 242 lankhn 2011 2021 1 2 phasathisxng 41 lankhn 2011 2021 3 trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xaryntawnxxkebngkxl xssmphasaebngkxlrupaebbkxnhnaphasaprakvtmkhth mkhthxpphrnsaAbahaṭ ṭhaphasaebngkxlekaphasaebngkxlsmyklangphasaebngkxlphasathinduphasayxyebngkxlrabbkarekhiynxksrebngkxl xssm chudtwxksrebngkxl xksrebrllebngkxl xksrxun aelaxditsthanphaphthangkarphasathangkarbngklaeths xinediy rthebngkxltawntk rthtripura rthxssm hubekhabarak rthcharkhnth thangkarephimetim 4 phuwangraebiybbnthitysthanbngla bngklaeths Paschimbanga Bangla Akademi rthebngkxltawntk rhsphasaISO 639 1bnISO 639 2benISO 639 3benkhxbekhtthangphumisastrkhxngphasaebngkxl briewnthiekhmkwakhuxmicanwnphuphudphasaaemepncanwnrxylamakkwabthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhd phasaebngkxlepnphasarachkar phasapracachati aelaphasathimiphuphudaephrhlaythisudinpraethsbngklaeths 8 9 10 odychawbngklaethsrxyla 98 ichphasaebngkxlepnphasaaem 11 12 phasaniepnphasathimiphuphudaephrhlayepnxndb 2 inxinediy thuxepnphasarachkarinrthebngkxltawntk rthtripura aelaphumiphakhhubekhabarakinrthxssm odyyngepnphasarachkarthisxnginrthcharkhnthtngaeteduxnknyayn kh s 2011 4 phasaniepnphasathiphudknaephrhlaysudinhmuekaaxndamnaelaniokhbarthixawebngkxl 13 aelainbriewnthiprachakrepnnyyasakhyinrthtang echn rthphihar rthxrunaclpraeths edli rthchttiskhrh rthemkhaly rthmiosrm rthnakhaaelnd rthoxthisa aelarthxuttrakhnth 14 phasaebngkxlyngmiphuphudodychawebngkxlphldthin chawbngklaethsphldthinaelachawxinediyechuxsayebngkxl thwyuorp xemrikaehnux tawnxxkklang aelaphumiphakhxun 15 phasaebngkxlidrbsthanaphasakhlassikcakrthbalxinediyinwnthi 3 tulakhm kh s 2024 16 17 odyepnphasathimiphuphudmakepnxndb 2 aelaetiboterwepnxndb 4 inpraethsxinediy epnrxngcakphasahindixndb 1 phasaksmirxndb 2 aelaphasamnipura mnipura rwmkbkhuchratepnxndb 3 tamsamaonxinediy kh s 2011 18 phasaebngkxlidrbkarphthnamakwa 1 400 pi wrrnkrrmebngkxlthimiprawtisastrwrrnkrrmxnyawnannbphnpi idrbkarphthnaxyangkwangkhwanginsmyfunfusilpwithyaebngkxl aelaepnhnunginwrrnkrrmthimiphlnganhlakhlayaelaxudmsmburnthisudinexechiy khbwnkarphasaebngkxlin kh s 1948 thung 1956 eriykrxngihmikarihphasaebngkxlepnphasarachkarkhxngpakisthan sngphlihekidaenwkhidchatiniymebngkxlinebngkxltawnxxk naipsukarsthapnapraethsbngklaethsin kh s 1971 odyin kh s 1999 yuensokrabrxngihwnthi 21 kumphaphnthepnwnphasaaemsaklthimikarrbrxngkhbwnkarphasa 19 20 enuxha 1 prawti 1 1 smyihm 2 karaephrkracaythangphumisastr 2 1 sthankarnepnphasarachkar 3 saeniyng 4 esiyng 5 rabbkarekhiyn 5 1 xksraebbxunaelainxdit 6 iwyakrn 6 1 kareriyngladbkha 6 2 khanam 6 3 khakriya 7 khasphth 8 rupaebbkhxngphasaphudaelaphasaekhiyn 9 twxyang 10 xangxing 11 xanephim 12 aehlngkhxmulxunprawtiaek nbsp hnacakchrrypth phasaebngkxlepnphasainklumphasaxinod xaryntawnxxk phthnamacakphasainyukhklangkhuxphasaprakvtmkhthaelaphasaimthili sungepnphasadngedimthiekhymibnthukinbriewnniaelaepnphasainsmyphuththkaldwy phasaehlanitxmaphthnaipepnphasaxrthamkhthi aelaphthnatxipepnklumphasaxpphrmsa phasaklumnithiichphudthangtawnxxkkhuxphasapurwi xpphrmsa idphthnatxipepnsaeniyngthxngthinsamklumkhux phasaphihar phasaoxriya aelaphasaebngkxl xssm inswnkhxngphasaebngkxlnn aebngepnsamchwngkhux phasaebngkxlobran ph s 1443 1543 1943 exksarthisakhyidaek crryptha ekidkarichsrrphnam Ami tumi karphnkriyadwy ila iba phasaoxriyaaelaphasaxssmaeykxxkipinchwngni phasaebngkxlyukhklang ph s 1943 2343 epnchwngthiidrbxiththiphlcakphasaepxresiy phasaebngkxlihm hlng ph s 2343 thaihkarphnkhanam khakriyasnlng phasaebngkxlidrbxiththiphlcakphasasnskvtmakkhuninyukhklang phasaxinod xarynsmyihminexechiyit echn phasapycab phasasinthi aelaphasakhuchratidrbxiththiphlcakphasaxahrbaelaphasaepxresiymak sungtangcakphasaebngkxlaelaphasaimthili thiyngrksaraksphththimacakphasasnskvtiwid iwyakrnaelaphcnanukrmphasaebngkxlchbbaerkcdthakhunodymichchnnarichawoprtueksrahwang ph s 2277 2285 smyihmaek duephim khbwnkarphasaebngkxl inkhriststwrrsthi 19 thung 20 mirupaebbphasaekhiyn 2 aebb চল তভ ষ chltiphasa rupaebbphasaphudkhxngphasaebngkxlthiichkarphnkhaaebbngay স ধ ভ ষ sathuphasa rupaebbphasaebngkxlthiepnthangkaraelasuphaph 21 22 in kh s 1948 rthbalpakisthanphyayamphyayamkahndihphasaxurduepnphasarachkarephiyngphasaediywinpakisthan thaihekidkraaeskhbwnkarphasaebngkxl 23 niepnkarekhluxnihwthangchatiphnthuphasathiidrbkhwamniyminxditebngkxltawnxxk pccubnkhuxbngklaeths sungekidkhuncakkhwamtrahnkthangphasathiekhmaekhngkhxngchawebngkxl aelakhwamprarthnathicasngesrimaelapkpxngkarrbrxngkarphudaelakarekhiynphasaebngkxlinthanaphasapracarthkhxngpraethspakisthaninekhruxckrphph emuxwnthi 21 kumphaphnth kh s 1952 nksuksa 5 khnaelankekhluxnihwthangkaremuxngthuksngharinrahwangkarprathwngiklbriewnmhawithyalykhxngmhawithyalythaka in kh s 1956 phasaebngkxlklayepnphasapracarthkhxngpakisthan 23 yuensokprakasihwnthi 21 kumphaphnthepnwnkhbwnkarphasainbngklaethsaelawnralukepnwnphasaaemsaklthukpitngaet kh s 2000 in kh s 2010 rthsphabngklaethsaelasphanitibyytikhxngrthebngkxltawntkesnxihphasaebngkxlepnphasathangkarkhxngshprachachati 24 n eduxnmkrakhm kh s 2023 yngimmikardaeninkarid ephimetimekiywkberuxngni krannin kh s 2022 shprachachatiidnaphasaebngkxlmaichepnphasaxyangimepnthangkar hlngcakthixinediyesnxytti 25 in kh s 2024 rthbalxinediyihsthanaphasaebngkxlepnphasakhlassik 16 17 nbsp Central Shaheed Minar thithaka praethsbngklaeths nbsp xnusrnsthanwirchnaehngphasathisthanirthif Silchar inrthxssm praethsxinediy nbsp xnusrnwnphasaaemthioklkata rthebngkxltawntkkaraephrkracaythangphumisastraekcanwnphuphudphasaebngkxlepnphasaaemodypramanthwolk odykhidepnyxdrwm 280 lankhn bngklaeths 56 3 xinediy 42 praethsxun 1 7 phasaebngkxlepnphasaaeminphumiphakhebngkxlthiprakxbdwypraethsbngklaethsaelarthebngkxltawntkkhxngxinediyinpccubn nbsp karaephrkracaythangphumisastrkhxngphasaebngkxlthwolk phasaaem phasaradbphumiphakh prachakrophnthaelmakkwalankhn prachakrophnthaelmakkwa 100 000 khn prachakrophnthaelmakkwa 10 000 khn prachakrophnthaelmakkwahnungphnkhn nxkcakphumiphakhni yngmichawebngkxlthiphudphasaniinrthtripura rthxssmtxnit aelaprachakrebngkxlthiphudindinaednshphaphhmuekaaxndamnaelaniokhbar nxkcakniyngmiphuphudphasaebngkxlinrthiklekhiyngxyangrthoxthisa rthphihar aelarthcharkhnth aelaphuphudphasaebngkxlchnklumnxyinnkhrkhxngxinediy echn edli mumib thaen pharansi aelawvnthawn aelayngmichumchnthiphudphasaebngkxlxyangepnnyyasakhyintawnxxkklang 26 27 28 shrth 29 singkhopr 30 maelesiy xxsetreliy aekhnada shrachxanackr aelaxitali sthankarnepnphasarachkaraek phasaebngkxlepnphasarachkarkhxngpraethsbngklaeths aelaepnphasarachkarinrthebngkxltawntkaelarthtripurainxinediy 31 aelaepnphasahlkinhmuekaaxndamnaelaniokhbar epnphasarachkarrwmkhxngrthxssmsaeniyngaekmikhwamphnaeprinaetlathxngthinthiphudphasaebngkxl odyaebngepnklumihyidsiklumkhux rath phngkha kamrup aelawernthra saeniyngthangtawntkechiyngithruxrathepnphunthankhxngphasaebngkxlmatrthan swnsaeniyngthangtawnxxkcaidrbxiththiphlcakklumphasathiebt phmamak thaihbangsaeniyngmikhwamaetktangkhxngesiyngwrrnyuktinsaeniynginbriewncittakxngaelackma bangsaeniyngthukcdepnphasaexkethstanghakechnphasahachxng aemcakhlaykbphasaebngkxlsaeniyngthangehnux 32 rahwangkarcdmatrthanphasaebngkxlinphuththstwrrs 24 25 sunyklangkhxngwthnthrrmebngkxlxyuthiklktta thaihsaeniyngthangtawntktxnklangklayepnsaeniyngmatrthanthnginebngkxltawntkaelabngklaeths aetphasaebngkxlinsxngbriewnnikmikarichkhasphththiaetktangkn aemcaepnkhasphthinphasaebngkxledimehmuxnkn echn khawaeklux thangtawntkich noon swnthangtawnxxkich lobon 33 esiyngaekinthangsthsastr phasaebngkxlmiphyychna 29 esiyng aelasra 14 esiyngrwmthngsranasik 7 esiyng miesiyngsraprasmmak karennesiyngmkennthiphyangkhaerkkhxngkha khwamsnyawkhxngesiyngsraimmikhwamsakhyinphasaebngkxlrabbkarekhiynaekbthkhwamhlk xksrebngkxl xssm chudtwxksrebngkxl aela xksrebrllebngkxl nbsp twxyangxksrebngkxlaebbrupekhiyn bthkwiswnhnunginphasaebngkxl aelakhaaeplphasaxngkvsinaetlayxhnaphasaebngkxl odyrphinthrnath thakur phuidrbrangwlonebl emux kh s 1926 thihngkari nbsp hxsmudiwtaechepilthixistlxndxnthimikhawa ব ল eruxngaesnginaebbxksrkhxngtnexng xksrebngkxl xssmepnxksrsraprakxb sungepnchudtwxksrthimitwxksrsahrbsra kbekhruxnghmayesrimsthxksrsahrbesiyngsra aelathaimmikarekhruxnghmaysrakthuxwamisraldrup অ o 34 chudtwxksrebngkxlichnganthwbngklaethsaelaxinediytawnxxk xssm ebngkxltawntk tripura echuxknwachudtwxksrebngkxlphthnamacakxksrphrahmiddaeplngemuxpraman kh s 1000 hruxkhriststwrrsthi 10 11 35 xksrebngkxlepnxksrtwekhiynthimihnwyxkkhrahruxsylksn 11 hnwythirabuesiyngsra 9 esiyng aelasraprasmsxngesiyng 2 hnwy kbhnwyxkkhrathiaethnesiyngphyychna 39 hnwyaelaswnkhyayxun 35 xksrniimmikaraebngepntwphimphihyaelaelk ekhiyncaksayipkhwa aelamichxngwangiwaebngkhaxkkhrwithi xksrebngkxlmiesnaenwnxnthilakiptamswnbnkhxnghnwyxkkhrasungechuxmekhadwykneriykwa ম ত র matra 36 karthxdxksrebngkxlepnxksr ichtamrabbkhxngphasasnskvthruxphasainpraethsxinediyrwmthnghxsmudaehngchatiklktta xksraebbxunaelainxditaek nbsp exksartwekhiyn Dobhashi Halat un Nabi in kh s 1855 ekhiynody Sadeq Ali odyichxksrsieltinakhri tlxdthngprawtisastr mibangkrnithiphasaebngkxlichekhiyndwyxksrthiaetktangkn aemwakarichphasaehlanicaimepnthiniymxyangkwangkhwangaelacakdxyuechphaaklumktam enuxngcakthitngthangphumisastrkhxngebngkxl phunthiebngkxlthitidkbphumiphakhthiimichebngkxlcungidrbxiththiphlsungknaelakn prachakrcanwnnxyin Midnapore thixyutidkbrthoxthisaichxksroxriyainkarekhiynphasaebngkxl swninphunthichayaednrahwangrthebngkxltawntkkbrthphihar chumchnchawebngkxlbangaehnginxditekhiynphasaebngkxldwyxksrethwnakhri ikthi aela Tirhuta 37 insieltaela Bankura xksrikthiaebbddaeplngmikhwamoddednthangprawtisastrbang odyechphaaxyangyinginchumchnmuslim xksrthiddaeplnginsieltnnehmuxnknkbxksr Baitali Kaithi khxngphasahindustani ewnaetxksrsieltinakhrimimatra 38 xksrsieltinakhriidrbkarkahndmatrthansahrbkarphimphemux p kh s 1869 9 mikarichxksrxahrbhlayrupaebbthwebngkxlcnthungkhriststwrrsthi 19 tngaetcittakxngthangtawnxxkipcnthung Meherpur thangtawntk 39 40 41 Nur Qutb Alam nkwichakarrachsankkhxngebngkxlinkhriststwrrsthi 14 aetngbthkwiphasaebngkxlodyichchudtwxksrepxresiy 42 43 hlngkaraebngxinediyinkhriststwrrsthi 20 rthbalpakisthanphyayamsthapnaxksrepxresiy xahrbepnxksrmatrthansahrbphasaebngkxlinpakisthantawnxxk aetidrbkartxtanaelamiswnsnbsnunihekidkhbwnkarphasaebngkxl 44 iwyakrnaekbthkhwamhlk iwyakrnphasaebngkxl khanaminphasaebngkxlimmikarkahndephs thaihmikarphnkhanxy khakhunsphth khanam aelasrrphnammi 4 kark khakriyamirupaebbkarphnmak aettangcakphasahindithiimmikarphnkhakriyatamephs kareriyngladbkhaaek phasaebngkxleriyngpraoykhaebbprathan krrm kriya echuxmkhainpraoykhdwyprbth khakhunsphth canwnaelakarkaesdngkhwamepnecakhxngnahnakhanam khathamaebbich imich imtxngmikarepliynladbkhainpraoykh khanamaek khanamaelakhasrrphnammikarphntamkarkcanwn 4 karkkhux prathan krrm khwamepnecakhxngaelaaesdngtaaehnng mikaretimkhanahnanamchiechphaaidaek ট ţa exkphcn hrux গ ল gula phhuphcn nammikarphntamcanwndwy phasaebngkxlmilksnnamechnediywkbphasayipun phasacinaelaphasaithy lksnnamthiichodythwipkhux ট ţa aetmilksnnambangkhaichkbnamechphaa echn জন jon ichkbkhn khakriyaaek khakriyaaebngidepnsxngradbkhuxkhuxkriyaaethaelakriyaimaeth kriyaimaethimmikarphntamkalkhxngbukhkhl inkhnathikriyaaethmikarphntamcudmunghmay kal aelabukhkhlaetimphntamcanwn nxkcaknn phasaebngkxlmikhwamtangcakphasainklumphasaxinod xarynxun khuxsamarthlakriyathiepn verb to be aebbthiphbinphasarsesiyaelaphasahngkarikhasphthaekinphasaebngkxlmikhasphthmakkwa 100 000 kha odykhrunghnungepnkhayumcakphasasnskvt raw 20 miraksphthrwmkbphasasnskvt thiehluxepnkhayumcakphasaxunodyechphaaphasaintrakulxxsotrexechiytik xyangirktam inphasaebngkxlsmyihm niymichsphththimiraksphthrwmkbphasasnskvt makkwakhathiyumcakphasasnskvt swnkhayummithiichnxylng inbriewnebngkxlepnbriewnthimikartidtxkbchawtangchatimakmay thngchawyuorp xinediysmyrachwngsomkul chawxahrb chawetirk chawepxresiy chawxfkn aelachawexechiytawnxxk phasaebngkxlcungmikhayumcakphasakhxngklumchnehlani sungtangkniptamradbkhxngkhwamiklchidinkartidtx mikaryumkhacakphasakhxngephuxnban echn phasahindi phasaxssm aelaphasaintrakulxxsotrexechiytikodyechphaaphasasntali karrukrankhxngepxresiyaelatawnxxkklangthaihmikhayumcakphasaepxresiy phasaxahrb phasaturki aelaphasapathan insmyxananikhm phasaebngkxlidrbxiththiphlcakphasainyuorp echn phasaoprtueks phasafrngess phasadtch aelaphasaxngkvsrupaebbkhxngphasaphudaelaphasaekhiynaekphasaebngkxlepnphasathimikhwamaetktangrahwangphasaphudaelaphasaekhiyn phasaekhiynmisxngaebbkhux sathuphasa স ধ ভ ষ epnrupaebbkarekhiynthimikarphnkhakriyaaebbyaw aelaichsphththimacakphasasnskvt ephlngchatiepntwxyangkarichsathuphasa aetrupaebbkarekhiynsmyihm imniymichsathuphasa chltiphasa চলত ভ ষ epnrupaebbkarekhiynphasaebngkxlsmyihm thiichkriyainrupsn aelaepnphasamatrthaninpccubn erimichemuxrawphuththstwrrsthi 24 saeniyngthiichepnphunthankhuxsaeniynginsantipura rthebngkxltawntk phasaphudkhxngphasaebngkxlmikhwamhlakhlayechnediywkn thangtawnxxkechiyngitkhxngrthebngkxltawntkrwmthnginklkttaphudsaeniyngmatrthankhxngphasaebngkxl swnxun khxngebngkxltawntkaelathangtawntkkhxngbngklaethsphudsaeniyngthimikhwamaetktangipelknxy inkhnathikhnswnihyinbngklaethsphudsaeniyngthitangipcakphasamatrthanodyechphaabriewncittakxng nxkcaknn chawebngkxlthinbthuxsasnahinduaelasasnaxislamichphasathitangkn phunbthuxsasnahinduniymichsphththimacakphasasnskvt swnmuslimniymichsphththimacakphasaxahrbaelaepxresiyaemcamikhwamhmayehmuxnkn echn swsdi nomoshkar snskvt kb assalamualaikum slamalikum xahrb echuxechiy nimontron nimontonno snskvt kb daoat xahrb na jol snskvt kb pani snskvt phx baba epxresiy corresponds to abbu abba xahrb twxyangaekkhxkhwamkhanglangnamacakptiyyasaklwadwysiththimnusychnkhxthi 1 inphasaebngkxl সমস ত Somosto ʃɔmosto Allম ন ষ manush manuʃ humanস ব ধ নভ ব shadhinbhabe ʃadʱinbʱabe free manner inসম ন soman ʃoman equalমর য দ morjada mɔɾdʒada dignityএব ebong eboŋ andঅধ ক র odhikar odʱikaɾ rightন য niye nie e takenজন মগ রহণ jonmogrohon dʒɔnmoɡrohon birth takeকর kore kɔɾe do ত দ র Tader tadeɾ Theirব ব ক bibek bibek reasonএব ebong eboŋ andব দ ধ buddhi budʱːi intelligenceআছ achhe atʃʰe exist স তর sutorang ʃutoraŋ thereforeসকল রই sokoleri ʃɔkoleɾi everyone indeedএক eke ɛke oneঅপর র oporer ɔporeɾ another sপ রত proti proti towardsভ র ত ত বস লভ bhratrittosulobh bʱratritːoʃulɔbʱ brotherhood lyমন ভ ব monobhab monobʱab attitudeন য niye nie e takenআচরণ achoron atʃorɔn conductকর kora kɔra doউচ ত uchit utʃit should সমস ত ম ন ষ স ব ধ নভ ব সম ন মর য দ এব অধ ক র ন য জন মগ রহণ কর ত দ র ব ব ক এব ব দ ধ আছ স তর সকল রই এক অপর র প রত ভ র ত ত বস লভ মন ভ ব ন য আচরণ কর উচ ত Somosto manush shadhinbhabe soman morjada ebong odhikar niye jonmogrohon kore Tader bibek ebong buddhi achhe sutorang sokoleri eke oporer proti bhratrittosulobh monobhab niye achoron kora uchit ʃɔmosto manuʃ ʃadʱinbʱabe ʃoman mɔɾdʒada eboŋ odʱikaɾ nie e dʒɔnmoɡrohon kɔɾe tadeɾ bibek eboŋ budʱːi atʃʰe ʃutoraŋ ʃɔkoleɾi ɛke ɔporeɾ proti bʱratritːoʃulɔbʱ monobʱab nie e atʃorɔn kɔra utʃit All human free manner in equal dignity and right taken birth take do Their reason and intelligence exist therefore everyone indeed one another s towards brotherhood ly attitude taken conduct do should mnusythngpwngekidmamixisraaelaesmxphakhkninskdisri aelasiththi tangintnmiehtuphlaelamonthrrm aelakhwrptibtitxkndwycitwiyyanaehngphradrphaphxangxingaek 1 0 1 1 1 2 Bengali thi Ethnologue 28th ed 2025 nbsp Scheduled Languages in descending order of speaker s strength 2011 PDF Registrar General and Census Commissioner of India ekb PDF cakaehlngedimemux 14 November 2018 subkhnemux 28 June 2018 Bengali at Ethnologue 27th ed 2024 nbsp 4 0 4 1 Jharkhand gives second language status to Magahi Angika Bhojpuri and Maithili The Avenue Mail 21 March 2018 ekbcakaehlngedimemux 28 March 2019 subkhnemux 30 April 2019 The World Factbook phasaxngkvs Central Intelligence Agency ekbcakaehlngedimemux 26 January 2021 subkhnemux 21 February 2018 Summary by language size Ethnologue phasaxngkvs 2019 ekbcakaehlngedimemux 24 April 2019 subkhnemux 21 February 2019 Banerjee Mou 21 February 2023 The missionaries and the evolution of the Bengali language The Daily Star subkhnemux 10 February 2024 Bangla Bhasha Procholon Ain 1987 ব ল ভ ষ প রচলন আইন ১৯৮৭ Bengali Language Implementation Act 1987 PDF Bangladesh Code ব ল দ শ ক ড phasaebngkxl Vol 27 Online ed Dhaka Ministry of Law Justice and Parliamentary Affairs Bangladesh khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 5 July 2016 subkhnemux 23 May 2019 9 0 9 1 Bangla Language Banglapedia ekbcakaehlngedimemux 6 July 2015 subkhnemux 12 September 2018 The Constitution of the People s Republic of Bangladesh Ministry of Law Justice and Parliamentary Affairs ekbcakaehlngedimemux 10 November 2019 subkhnemux 23 May 2019 National Languages Of Bangladesh einfon com 11 June 2017 ekbcakaehlngedimemux 2 August 2017 subkhnemux 12 September 2018 5 Surprising Reasons the Bengali Language Is Important 17 August 2017 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 26 June 2018 subkhnemux 10 March 2018 50th Report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India July 2012 to June 2013 PDF National Commission for Linguistic Minorities 16 July 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2 January 2018 subkhnemux 20 February 2018 50th Report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India PDF nclm nic in Ministry of Minority Affairs khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 8 July 2016 subkhnemux 23 May 2019 Bengali Language www britannica com ekbcakaehlngedimemux 26 June 2018 subkhnemux 12 September 2018 16 0 16 1 Kumar Vivek Roy Suryagni 3 October 2024 Marathi Pali Prakrit Assamese Bengali now among classical languages India Today subkhnemux 3 October 2024 17 0 17 1 Classical language status Union Cabinet approves addition of Marathi Assamese Bengali Pali Prakrit to list The Hindu PTI 3 October 2024 ISSN 0971 751X subkhnemux 3 October 2024 R Aishwaryaa 6 June 2019 What census data reveals about use of Indian languages Deccan Herald ekbcakaehlngedimemux 16 November 2023 subkhnemux 16 November 2023 Pallapothu Sravan 28 June 2018 Hindi Added 100Mn Speakers In A Decade Kashmiri 2nd Fast Growing Language Indiaspend com ekbcakaehlngedimemux 16 November 2023 subkhnemux 16 November 2023 IndiaSpend 2 July 2018 Hindi fastest growing language in India finds 100 million new speakers Business Standard ekbcakaehlngedimemux 16 November 2023 subkhnemux 16 November 2023 Mishra Mayank Aggarwal Piyush 11 April 2022 Hindi grew rapidly in non Hindi states even without official mandate India Today ekbcakaehlngedimemux 16 November 2023 subkhnemux 16 November 2023 Amendment to the Draft Programme and Budget for 2000 2001 30 C 5 PDF General Conference 30th Session Draft Resolution UNESCO 1999 ekb PDF cakaehlngedimemux 21 May 2011 subkhnemux 27 May 2008 Resolution adopted by the 30th Session of UNESCO s General Conference 1999 International Mother Language Day UNESCO khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 1 June 2008 subkhnemux 27 May 2008 Ray S Kumar The Bengali Language and Translation Translation Articles Kwintessential khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 25 September 2006 subkhnemux 19 November 2006 Bengali language History Writing System amp Dialects Britannica www britannica com phasaxngkvs 3 March 2024 subkhnemux 7 March 2024 23 0 23 1 Thompson Hanne Ruth 2012 Bengali Paperback with corrections ed Amsterdam John Benjamins Pub Co p 3 ISBN 978 90 272 3819 1 Bengali should be UN language BBC News 22 December 2009 ekbcakaehlngedimemux 8 November 2017 subkhnemux 7 November 2017 UN adopts Bangla as unofficial language Dhaka Tribune phasaxngkvs 12 June 2022 ekbcakaehlngedimemux 20 January 2023 subkhnemux 20 January 2023 Kuwait restricts recruitment of male Bangladeshi workers Dhaka Tribune phasaxngkvsaebbxemrikn 7 September 2016 ekbcakaehlngedimemux 30 August 2017 subkhnemux 4 December 2017 Bahrain Foreign population by country of citizenship sex and migration status worker family dependent selected countries January 2015 GLMM GLMM phasaxngkvsaebbxemrikn 20 October 2015 ekbcakaehlngedimemux 16 December 2017 subkhnemux 4 December 2017 Saudi Arabia Ethnologue ekbcakaehlngedimemux 23 November 2017 subkhnemux 4 December 2017 New York State Voter Registration Form PDF ekb PDF cakaehlngedimemux 27 January 2018 subkhnemux 10 February 2018 Bangla Language and Literary Society Singapore khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 5 May 2013 Bhattacharjee Kishalay 30 April 2008 It s Indian language vs Indian language ndtv com khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 07 23 subkhnemux 2008 05 27 Hajong The Ethnologue Report subkhnemux 2006 11 19 History of Bengali Banglar itihash Bengal Telecommunication and Electric Company khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 07 07 subkhnemux 2006 11 20 Escudero Pascual Alberto 23 tulakhm 2005 Writing Systems Scripts PDF Primer to Localization of Software it46 se khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 19 minakhm 2009 subkhnemux 20 phvscikayn 2006 35 0 35 1 Bangalah khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 5 July 2015 in Asiatic Society of Bangladesh 2003harvnb error no target CITEREFAsiatic Society of Bangladesh2003 help banglasemantics net khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 24 December 2010 Chatterji 1926 p 234 235 harv error no target CITEREFChatterji1926 help Saha RN 1935 The Origin of the Alphabet and Numbers in Khattry DP b k Report of All Asia Educational Conference Benares December 26 30 1930 Allahabad India The Indian Press Ltd pp 751 779 Chatterji 1926 pp 228 233 harv error no target CITEREFChatterji1926 help Khan Sahib Maulavi Abdul Wali 2 November 1925 A Bengali Book written in Persian Script Ahmad Qeyamuddin 20 March 2020 The Wahhabi Movement in India Routledge The development of Bengali literature during Muslim rule PDF Blogs edgehill ac uk khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 9 August 2017 subkhnemux 7 November 2016 Shahidullah Muhammad February 1963 হযরত ন র দ দ ন ন র ল হক ন র ক তব ল আলম রহ Islam Prasanga ed 1st ইসল ম প রসঙ গ phasaebngkxl 1 ed Dacca Mawla Brothers p 99 Kurzon Dennis 2010 Romanisation of Bengali and Other Indian Scripts Journal of the Royal Asiatic Society 20 1 71 73 ISSN 1356 1863 JSTOR 27756124 ekbcakaehlngedimemux 23 August 2021 subkhnemux 23 August 2021 xanephimaekThompson Hanne Ruth 2012 Bengali Volume 18 of London Oriental and African Language Library John Benjamins Publishing ISBN 90 272 7313 8 aehlngkhxmulxunaekThe South Asian Literary Recordings Project Bengali Authors at the Library of Congress phasaebngkxl thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy nbsp hakhwamhmay cak wikiphcnanukrm nbsp phaphaelasux cak khxmmxns nbsp khakhm cak wikikhakhm nbsp khxmultnchbb cak wikisxrs nbsp aehlngeriynru cak wikiwithyaly nbsp khumuxthxngethiyw cak wikithxngethiyw nbsp phasabngkla chbb wikiphiediy ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaebngkxl amp oldid 12165792

บทความล่าสุด
  • พฤษภาคม 25, 2025

    เขตหลักสี่

  • พฤษภาคม 25, 2025

    เขตสงวนอินเดียน

  • พฤษภาคม 25, 2025

    เขตปราวิเดนสกี

  • พฤษภาคม 25, 2025

    เขตชูคอตสกี

  • พฤษภาคม 25, 2025

    เขตการปกครอง

www.NiNa.Az - สตูดิโอ

    การสมัครรับจดหมายข่าว

    เมื่อคุณสมัครรับจดหมายข่าวของเรา คุณจะได้รับข่าวสารล่าสุดจากเราเสมอ
    ติดต่อเรา
    ภาษา
    ติดต่อเรา
    DMCA Sitemap
    © 2019 nina.az - สงวนลิขสิทธิ์.
    ลิขสิทธิ์: Dadash Mammadov
    เว็บไซต์ฟรีที่ให้บริการแบ่งปันข้อมูลและไฟล์จากทั่วทุกมุมโลก
    สูงสุด